สับเซต (Subset) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ
A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ
B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ B สมบัติของสับเซต 1) A ⊂ A (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง) 2) A ⊂ U (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์) 3) ø ⊂ A (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกๆ เซต) 4) ถ้า A ⊂ ø แล้ว A = ø 5) ถ้า A ⊂
B และ
B ⊂ C แล้ว A ⊂ C (สมบัติการถ่ายทอด) 6) A = B ก็ต่อเมื่อ A ⊂
B และ
B ⊂ A อ่านเพิ่มเติม
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ B สมบัติของสับเซต 1) A ⊂ A (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง) 2) A ⊂ U (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์) 3) ø ⊂ A (เซตว่างเป็นสับเซตของทุกๆ เซต)

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น